:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::
นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
Graphical counter from SEP 2550
Oh no! Where's the
JavaScript ?
Your Web browser does not have JavaScript enabled or does not support JavaScript. Please
enable JavaScript on your Web browser to properly view this Web site,
or
upgrade to a Web browser that does support JavaScript;
Firefox ,
Safari ,
Opera ,
Chrome or a version of
Internet Explorer newer then version 6.
หลายๆท่านคงได้ยินได้ฟังการพูดถึง อารยะขัดขืน และประชาภิวัฒน์ ซึ่งเป็นศัพท์ทางการเมือง โดยมีที่มาจากกลุ่มการเมืองภาคประชาชนที่เรียกตัวเองว่า กลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย หรือที่เรียกสั้นๆว่า พธม.เริ่มใช้วิธีการที่เรียกว่าอารยะขัดขืนในการชุมนุมทางการเมืองประท้วงรัฐบาลมาตั้งแต่ปี 2549
มาพูดถึงคำที่ว่า เริ่มจากคำว่า อารยะขัดขืน ก่อนนะครับ
"อารยะขัดขืน" หรือ Civil Disobedience หรือที่แปลง่ายๆว่า ดื้อแพ่ง เป็นสิ่งที่ผู้คนขัดขืนการบังคับใช้ตามกฏหมาย คือไม่ปฏิบัติตามกฏหมาย เช่น ไม่จ่ายภาษี ไม่เชื่อฟังคำสั่งห้ามต่างๆของบ้านเมือง เป็นต้น
"ประชาภิวัฒน์" เป็น "อารยะขัดขืน" ที่เพิ่มดีกรีความเข้ม (วินิจฉัยจากคำกล่าวของ พธม. ผู้นำมาใช้) หมายถึงไม่ยอมรับการปกครองของรัฐบาล โดยกลุ่มมองว่ารัฐบาลไม่มีความชอบธรรมในการบริหารประเทศ แม้จะต้องดื้อแพ่งไม่ฟังคำสั่งศาลก็ทำ
จากคำที่งดงาม แต่การปฏิบัติจะเป็นไปในทางลบในความรู้สึกของคนในสังคม จึงเป็นเรื่องที่วงการศึกษาจะต้องนำคำ ๆ นี้มาวิเคราะห์ แยกแยะ ความหมายและชี้ให้เห็นถึงผลดีผลเสียที่จะนำวิธีการอย่างนี้มาใช้ในสังคม มิฉะนั้นจะเกิดลัทธิเอาอย่าง สร้างความสับสนวุ่นวายให้สังคม และบ้านเมืองในที่สุด
No Comments have been Posted.
Please Login to Post a Comment.
<< May 2023 >>
Mo
Tu
We
Th
Fr
Sa
Su
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
No events.
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)