:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::
นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
Graphical counter from SEP 2550
Oh no! Where's the
JavaScript ?
Your Web browser does not have JavaScript enabled or does not support JavaScript. Please
enable JavaScript on your Web browser to properly view this Web site,
or
upgrade to a Web browser that does support JavaScript;
Firefox ,
Safari ,
Opera ,
Chrome or a version of
Internet Explorer newer then version 6.
งบประมาณที่ใชในการดํ าเนินงานด้านเทคโนฯการศึกษาของสิงคโปร์
• ป 1997 – 2002 รัฐบาลอนุมัติเงินจํ านวน 2 พันลาน
ดอลลาร หรือประมาณ 75,460 ลานบาท สํ าหรับการ
พัฒนาเครือขายโรงเรียน การจัดซื้อคอมพิวเตอร การปรับ
สภาพทางกายภาพ คาใชจายของซอฟตแวร และการฝก
อบรมครู
17
• รัฐบาลอนุมัติเงินจํ านวน 600 ลานดอลลารตอป หรือ
ประมาณ 22,638 ลานบาท สํ าหรับการบํ ารุงรักษา การ
จัดหาฮารดแวรมาทดแทน การพัฒนาซอฟตแวรใหม และการ
ฝกอบรมครูอยางตอเนื่อง
ของประเทศมาเลเซีย
เปาหมาย
ปจจุบัน ประเทศมาเลเซียมีโรงเรียนประถมศึกษา 7,000 แหง
โรงเรียนมัธยมศึกษา 1,500 แหง รัฐบาลมีเปาหมายที่จะเปลี่ยนใหโรง
19
เรียนทั้งหมด เปน Smart School ภายในป 2010 โดยจะเริ่มทํ าการ
ทดลองระยะแรกกับโรงเรียน 90 แหง ในเดือนมกราคม 1999 และ
ขยายการดํ าเนินการไปยังทุกโรงเรียนที่เหลือในเดือนมกราคม 2000
เทคโนโลยีจะเปนแรงขับดันที่สํ าคัญของโครงการ Smart Schools
ลักษณะสํ าคัญ ของโครงการ มี 3 ประการ คือ
• สื่อการเรียนการสอน ตองมีการเตรียมสื่อสํ าหรับการเรียน
การสอนวิชาตาง ๆ 4 วิชา ของทุกระดับชั้น ไดแก ภาษา
Bahasa Malaysia ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร และ
คณิตศาสตร
• ระบบประเมินผล Smart School จะตองประเมินความกาว
หนาและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนอยางถูกตองแมนยํ ามากขึ้น
และมีการแจงผลสอบในระบบ on-line
• ระบบบริหาร การบริหารจัดการของ Smart School จะตอง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ตองมีการจัดการ
ทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน
สำหรับประเทศไทยของเรา ยังเป็นเหมือนความฝัน ยังตีความรัฐธรรมนูญกันไม่เลิก
จึงมีเพียงปจจัยสูความสํ าเร็จ
การพัฒนา “เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” ของประเทศไทยที่ผาน
มาจํ าเปนตองมีการสรุปบทเรียนใหชัดเจนถึง จุดออน จุดแข็ง กันอยาง
ตรงไปตรงมา เพื่อการกาวใหมที่ไปรวมกันและไปดวยกัน ดังนั้น
ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของจํ าเปนตองหันเขาหากัน เพื่อรวมกัน “สราง”
และ “ทํ า” ให “เทคโนโลยี” เปนกลไกสํ าคัญในการสงเสริมการเรียนรู
ตลอดชีวิต
เมื่อเป็นอย่างนี้ เราคงได้แต่มองเพื่อนบ้านของเราวิ่งไปข้างหน้าด้วยความเงียบเหงาในหัวใจ
No Comments have been Posted.
Please Login to Post a Comment.
<< October 2022 >>
Mo
Tu
We
Th
Fr
Sa
Su
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
No events.
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)