:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » เรื่องเก่า..การศึกษาของไทยที่น่าเป็นห่วง
เรื่องเก่า..การศึกษาของไทยที่น่าเป็นห่วง

ภาพประกอบจาก http://guideclub.212cafe.com/user_blog/guideclub/Banpukem%20school%20133.jpg


จากข้อมูลด้านการเรียนของเด็กไทย ตามข่าวหน้าการศึกษาของหนังสือพิมพ์

"ไทยได้เข้าร่วมวิจัยโครงการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษา คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ร่วมกับนานาชาติ ปี 2550 (Trends in International Mathematics and Science Study 2007, TIMSS - 2007) ซึ่งดำเนินการภายใต้สมาคมการประเมินผลนานาชาติ IEA (The International Association for the Evaluation of Educational Achievement) และเก็บรวบรวมข้อมูล จากนักเรียนชั้น ม.2 ทั่วประเทศ จำนวน 5,412 คน จาก 150 โรงเรียน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) สำนักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร (สนศ.) สำนักบริหารการศึกษาท้องถิ่น (สศท.) และโรงเรียนสาธิตในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) พบว่า วิชาคณิตศาสตร์ ไทยอยู่ในอันดับที่ 29 โดยได้ 441 คะแนน ถือว่าต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยนานาชาติ ซึ่งอยู่ที่ 500 คะแนน ซึ่งประเทศที่ได้คะแนนสูงสุด 5 อันดับแรกอยู่ในทวีปเอเชียทั้งสิ้น ได้แก่ สิงคโปร์ ไต้หวัน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และฮ่องกง ส่วนมาเลเซียอยู่อันดับที่ 20 ส่วนวิชาวิทยาศาสตร์ ไทยอยู่อันดับที่ 21 เท่ากับมาเลเซีย โดยได้ 471 คะแนน ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยนานาชาติ ซึ่งอยู่ที่ 500 คะแนน ซึ่งประเทศที่ได้คะแนนสูงสุด 5 อันดับแรก 5 ได้แก่ สิงคโปร์ จีน-ไทเป ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอังกฤษ�นายปรีชาญ กล่าว และว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 2 วิชาของไทยนี้ ถือว่าลดต่ำลงกว่าช่วงปี 2542-2546 โดยครั้งที่แล้ว ไทยได้วิชาคณิตศาสตร์ 467 คะแนน และวิทยาศาสตร์ 482 คะแนน"

เมื่อผลเป็นอย่างนี้ ฝ่ายวางแผนเรื่องการศึกษาชาติคิดอย่างไร

จาก ประสบการณ์ ผมยังยืนยันว่าระดับประถมตั้งแต่ ป.1-4 ควรจัดระบบการศึกษาใหม่ เน้นเรื่องภาษาไทยและการคำนวณเป็นหลัก วิชาประกอบอื่นๆนั้นลดการเรียนลงไป ที่คิดอย่างนี้มีเหตุผลว่า วิชาภาษาไทย และ การคำนวณ เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ของทุกวิชา ถ้าเด็กอ่านออกเขียนได้คล่อง คำนวณพื้นฐานได้ไม่ผิดพลาด จะนำไปสู่การเรียนในระดับสูงขึ้นได้อย่างมีปัญหาน้อยที่สุด ส่วนเรื่องสติปัญญาของเด็กก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่จะต้องแก้ปัญหาเป็นรายคน อย่าเอามาปนกันกับเรื่องวิชาพื้นฐานที่ผมกล่าวนะครับ
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< March 2026 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
            1
2 3 4 5 6 7 8
9 10 11 12 13 14 15
16 17 18 19 20 21 22
23 24 25 26 27 28 29
30 31          

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional December 27 2024 07:38:30