:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » "รักการอ่าน" วาระแห่งโรงเรียนเบญจมฯ
"รักการอ่าน" วาระแห่งโรงเรียนเบญจมฯ
"คน ที่ประสบความสำเร็จในชีวิตล้วนแล้วแต่เป็นคนที่รักการอ่าน ไม่ว่าจะเป็นบิล เกตส์, โอบามา หรือแม้แต่ ฮิตเลอร์ การอ่านทำให้เกิดความรู้และจินตนาการ การอ่านจึงเป็นเรื่องที่สำคัญและต้องปลูกฝังให้คนไทยรักการอ่านกันตั้งแต่ เด็กๆ" บางส่วนจากการให้สัมภาษณ์ของ "ดร.ป๊อป" ฐาวรา สิริพิพัฒน์ ผู้เขียน "เดอะ ไวท์โร้ด"

จากคำกล่าวข้างต้นนี้ เป็นเรื่องที่ครูและนักเรียนทุกคนจะต้องตระหนัก เนื่องจากเป็นเรื่องของวิชาชีพทั้งปัจจุบันและอนาคต

การหาความรู้ใส่ตนด้วยการอ่านนั้น ดีกว่าการให้ผู้อื่นหยิบยื่นให้ เนื่องเพราะการอ่านเกิดจากความต้องการใฝ่รู้จากตนเอง แถมดีกว่าที่ได้ความรู้ครบถ้วนเชื่อถือได้ไม่คลาดเคลื่อน

ประเด็นอยู่ที่ว่าจะทำอย่างไรให้เกิดการรักการอ่านขึ้นโดยเฉพาะในหมู่นักเรียน ที่ตอนนี้ค่าเฉลี่ยของการอ่านหนังสือของคนไทยอยู่ที่ 5 เล่มต่อปี

จากประสบการณ์ที่เคยสอนวิชาภาษาไทยในระดับ ม.ต้น เมื่อเกือบ 40 ปีที่ผ่านมา จำได้ว่ามีรายวิชาเลือกวิชาหนึ่งชื่อ การอ่านและพิจารณาหนังสือ ไม่มีรายละเอียดมากมีเพียงคำอธิบายรายวิชาว่าจะต้องให้นักเรียนสามารถวิจารณ์วิเคราะห์ว่าหนังสือที่อ่านนั้นมีดี ในเรื่องการใช้ภาษาและมีแง่คิดอยู่ในส่วนใดบ้าง เป็นหนังสือประเภทใด คนเขียนมีแรงบันดาลใจอย่างไรที่เขียนเรื่องนั้นๆขึ้นมา ฯลฯ

จากวิชานี้เองเราสามารถจะให้นักเรียนได้อ่านหนังสือคนละอย่างน้อยเท่ากับจำนวนนักเรียนที่เรียนในชั้นนั้น

หมายความว่าให้นักเรียนซื้อหนังสือพ็อกเก็ตบุ๊คตามความสนใจของนักเรียนเองคนละ 1 เล่ม เพื่ออ่านแล้วเขียนรายงานตามรูปแบบที่กำหนด เสร็จแล้วแลกเปลี่ยนหนังสือกับเพื่อนเพื่ออ่านต่อและเขียนรายงานตามรูปแบบเดิม ครูตรวจสอบว่าอ่านจริงด้วยการสุ่มถามในชั้นเรียนให้นักเรียนเล่าเรื่องย่อๆให้เพื่อนฟังเป็นต้น

ถามว่าได้ผลหรือไม่....ก็ได้ผลนะ แม้ว่านักเรียนบางคนอาจจะเห็นว่าเป็นการบังคับให้อ่านก็ตาม อย่างน้อยมันก็มีกรอบให้เด็กเดินตามความต้องการของหลักสูตร ซึ่งเมื่อเวลาผ่านเลยไป นักเรียนเหล่านั้นหลายๆคนจะมีประสบการณ์จากการอ่านและอยากจะอ่านหนังสือมากขึ้น

ผมไม่รู้ว่าหลักสูตรภาษาไทยวันนี้เกี่ยวกับเรื่องอย่างนี้ยังใช้หรือไม่ ถ้าไม่มีก็น่าจะเปิดหลักสูตรนี้ขึ้นมาเพื่อสนองนโยบายการศึกษาของรัฐที่ต้องการให้นักเรียนเกิดการรักการอ่านเป็นวาระแห่งชาติ... เราก็นำเรื่องนี้มาจัดการเสียก่อนเป็นวาระแห่งเบญจมฯก็ไม่เลวนะ ว่ามั้ย
Events
<< May 2025 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
      1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31  

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional December 23 2024 06:34:02