:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::
นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
Graphical counter from SEP 2550
Oh no! Where's the
JavaScript ?
Your Web browser does not have JavaScript enabled or does not support JavaScript. Please
enable JavaScript on your Web browser to properly view this Web site,
or
upgrade to a Web browser that does support JavaScript;
Firefox ,
Safari ,
Opera ,
Chrome or a version of
Internet Explorer newer then version 6.
ในขณะนั่งรถไปทำงานเมื่อเช้านี้(2 มิย.58) หยิบเอาคำว่า ปรองดอง มาคิดเล่น ๆว่าคำๆนี้ มันเป็นคำอะไรในภาษาไทย
นั่งไล่ไปไล่มาโดยนำความรู้เก่ามาวิเคราะห์ ก็สรุปว่าน่าจะเป็นคำซ้อน ที่เรียกว่าซ้อนเสียง (เสียงสระ) ซึ่งหมายความว่าคำๆนี้ กำหนดขึ้นมาเพื่อให้คำมีความสละสลวยในการออกเสียงมากขึ้น เป็นภูมิปัญญาของนักภาษาไทย ที่ทำให้เกิดคำนี้ขึ้นมา เพราะเมื่อนำคำมาวิเคราะห์แล้วนี้ จะมีความหมายอยู่คำเดียวคือ ดอง ส่วนคำว่าปรองนั้นเป็นคำที่ซ้อนมาเพื่อให้ออกเสียงสละสลวยเท่านั้น
ทีนี้เมื่อนำคำว่า ดอง มาตีความหมาย ก็รู้ว่า ดอง นั้นเป็นคำไทยแท้ที่แปลได้หลายความหมาย ในที่นี้จะพูดถึงที่มาซ้อนกับปรองเท่านั้น
ดอง ในที่นี้หมายถึง การเนื่องกันด้วยทางเขยหรือสะไภ้ ซึ่งก็หมายถึงการเชื่อมสัมพันธ์เป็นเครือญาติกันั่นเอง
ทีนี้ก็คงจะมองเห็นความหมายของคำว่าปรองดองชัดเจนขึ้น ไม่ใช่มีความหมายแค่ความสามัคคี แต่มันลึกซึ้งกว่านั้น คือเป็นความรักที่แน่นแฟ้นในฐานะเป็นเครือญาติกัน เรียกว่ามองเห็นเลยว่าสังคมไทยนั้นเอื้อเฟื้อต่อกันรักกันเสมือนญาติพี่น้อง
ใครจะใช้คำว่าปรองดองก็ต้องคิดก่อนว่าเราจะเป็นดองกันได้หรือไม่ .. มีความจริงใจให้ต่อกันได้หรือไม่ เพราะคำที่ว่านี้เมื่อเป็นพี่น้องเพื่อนฝูงกันแล้ว หรือภาษาอีสานเรียกว่าเสี่ยวนั้น จะต้องมีความรักและช่วยเหลือเกื้อกูลกันมากกว่าปกติธรรมดา .... ทั้งหลายทั้งปวงก็มีด้วยประการฉะนี้แล...
คิดและเขียนเมื่อ วันวันพุธเวลา 20:38 น. ใน facebook // ภาพประกอบจากเว็บไซต์
No Comments have been Posted.
Please Login to Post a Comment.
<< September 2024 >>
Mo
Tu
We
Th
Fr
Sa
Su
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
No events.
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)