:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » ใช้เป็น กับ ใช้ได้..ต่างกันมั้ย ???
ใช้เป็น กับ ใช้ได้..ต่างกันมั้ย ???
ผมมองเห็นการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ของเหล่าลูกเบญจม์ที่พากันเข้าใช้บริการในห้องอินเตอร์เน็ตแล้ว อดสงสัยไม่ได้ว่าการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีของเด็กๆเหล่านี้ถูกฝึกมาอย่างไร ?

ต้องยอมรับว่าพวกเด็กๆสามารถเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะตั้งแต่พวกเขาเกิดมาจนรู้ความ พวกเขาอยู่ท่ามกลางเครื่องมือเครื่องใช้ที่เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ทั้งหมด ตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์รุ่นใหม่ ให้พวกเขาจับใช้อะไรก็สามารถจะเรียนรู้และใช้ได้อย่างรวดเร็ว

แต่ประเด็นปัญหาอยู่ที่พวกเขาสามารถใช้ได้ แต่น้อยคนที่จะมีคุณสมบัติทั้งใช้ได้และใช้เป็น !!!

ใช้ได้ และ ใช้เป็น ไม่เหมือนกันหรือ ???

ถ้าพูดในความหมายรวมๆแล้ว ก็จะมีความคล้ายคลึงกัน

แต่คุณสมบัติของคำว่าใช้ได้ในที่นี้ คนนั้นอาจจะสามารถใช้ของชิ้นนั้นๆได้แต่เพียงแค่ใช้ได้เท่านั้น

ส่วนคุณสมบัติของคำว่าใช้เป็นในที่นี้จะมีความหมายครอบคลุมทั้งได้และเป็น...เรียกว่า คนใช้ของเป็นจะมีคุณสมบัติดีกว่าคนที่เพียงใช้ของนั้นๆได้



ยกตัวอย่างที่มองเห็นจากเด็กที่เข้าใช้คอมพิวเตอร์ในห้องอินเตอร์เน็ตก็แล้วกัน เพราะเห็นง่ายเข้าใจง่าย

พวกใช้ได้ก็เพียงเปิดเครื่องใช้ แต่ไม่พิถีพิถันที่จะใช้อย่างระมัดระวัง เปิดใช้โปรแกรมเพื่อจัดพิมพ์งานส่วนตัวก็ไม่พิถีพิถันที่จะตรวจสอบความถูกต้อง ไม่พิถีพิถันที่จะตรวจสอบหน้าที่จะพิมพ์นั้นว่าเหมาะสมแล้วหรือไม่ จะต้องพิมพ์กี่หน้า พวกนี้จะสั่งพิมพ์โดยไม่ตรวจสอบสั่งพิมพ์ออกทั้งหมด ทำให้เกิดการพิมพ์ส่วนเกินออกมาสูญเสียกระดาษไปอย่างน่าเสียดาย คนเหล่านี้มีมากซึ่งก็ค่อยๆสั่งค่อยๆสอน ... แต่ดูเหมือนจะไม่ค่อยน้อยลงสักเท่าไร

ส่วนพวกใช้เป็น พวกนี้ก็มีมากโขอยู่ มีความชำนาญในการใช้อุปกรณ์ เรียนรู้จากคู่มือใช้งานหรือเรียนงานจากเพื่อนที่ใช้เป็นแล้ว มีความสามารถใช้โปรแกรมและเครื่องพิมพ์ได้อย่างดี ก่อนการพิมพ์งานเด็กเหล่านี้จะค่อยตรวจทาน จัดหน้า เรียกดูงานจาก Print Preview จนพอใจแล้วจึงพิมพ์โดยกำหนดจำนวนหน้าที่ต้องการพิมพ์ ทำให้สูญเสียกระดาษน้อยที่สุดหรือไม่สูญเสียเลย

ประเด็นที่เขียนในวันนี้ เป็นประเด็นที่หวังให้สมาชิกในบ้านเบญจม์ ตระหนักถึงเรื่องการใช้ได้ กับการใช้เป็น เพื่อจะได้เป็นคุณสมบัติที่ดีติดตัวลูกเบญจม์ทุกคนออกไปสู่สังคมภายนอกซึ่งมีความต้องการเด็กๆที่มีคุณสมบัติอย่างนี้เป็นอย่างมาก

ณรงค์ นันทวิจิตร
15/08/2554
Events
<< October 2023 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
            1
2 3 4 5 6 7 8
9 10 11 12 13 14 15
16 17 18 19 20 21 22
23 24 25 26 27 28 29
30 31          

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional December 27 2024 05:33:11