:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » การตีเด็กควรเป็นทางเลือกหนึ่งในการทำโทษเด็ก
การตีเด็กควรเป็นทางเลือกหนึ่งในการทำโทษเด็ก
การตีเด็ก ควรเป็นทางเลือกหนึ่งในการทำโทษเด็ก

“ไม้เรียว สร้างรัฐมนตรี” นั้นแป็นคำพูดที่ได้ยินมานานแสนนานและความหมายของมันก็คือ การตีเด็กของคุณครูนั้นเป็นวิธีการหนึ่งที่ทำให้เด็กเป็นคนที่มีคุณภาพได้

แต่ปัจจุบันโรงเรียนไม่สามารถตีเด็กได้แล้ว เพราะเป็นกฎของกระทรวงศึกษาธิการที่ห้ามครูตีเด็กตั้งแต่สมัยรัฐมนตรีศึกษาฯ ชื่อ สมศักดิ์ ปริศนานันธกุล



การ ยกเลิกการตีเด็กคงเป็นการมองมุมที่เป็นผลเสียของมันเป็นหลัก เช่น ครูชอบตีเด็กด้วยอารมณ์, ตีอย่างไร้เหตุผล,ตีโดยขาดการไต่สวนพิจารณาโทษที่ถูกต้อง ทำ ให้มีบางครั้งมีการตีเด็กจนถึงขั้นบาดเจ็บ

แต่ หลังจากการยกเลิกการตีเด็กเป็นต้นมา ก็เกิดปัญหาใหญ่ขึ้น ซึ่งดูจะใหญ่กว่าปัญหาที่เกิดจากการตีเด็กเป็นอย่างมาก ปัญหานั้นก็คือ ครูขาดอำนาจการต่อรองกับเด็ก เด็กที่ประพฤติดีๆนั้นตีหรือไม่ ตีก็ไม่มีปัญหา เพราะยังไงเขาก็ไม่โดนตีอยู่แล้ว

แต่เด็กดื้อ, เด็กมีปัญหานี่สิเรื่องใหญ่ ให้เรียนก็นั่งคุย ทำตัวป่วนในห้องเรียน ให้ทำการบ้านก็ไม่ทำ ขาด เรียนหรือโดดเรียนก็บ่อย ติด ๐ ติด ร.ก็ไม่มาแก้ไข เด็กบางคน อยู่ม.๓ ติด ๐ ติด ร.เกือบ ๒๐ วิชา เจ้าตัวเองยังจำไม่ได้เลยว่ามีวิชาอะไรบ้าง เรียกผู้ปกครองมาพบก็ไม่มา คะแนนความประพฤติก็ไม่เหลือให้หักแล้ว

ครู เองก็ไม่รู้ว่าจะเอาอำนาจต่อรองอะไรไปใช้กับเด็กกลุ่มนี้ ท้ายที่สุดก็ต้องปล่อยเลยตามเลย เด็กกลุ่มนี้ก็ไม่ได้รับการพัฒนา ต้องออกกลางคัน และจะออกไปสร้างปัญหาให้สังคมอย่างไม่หยุดหย่อน นี่ถ้าครูยังตีเด็กได้ เด็กกลุ่มนี้น่าที่จะถูกกำราบตั้งแต่ต้นก่อนที่ความดื้อด้านจะฟักตัวเติบ ใหญ่จนแก้ไขไม่ได้แบบนี้

เชื่อ ว่าครูเกือบทุกคนคงยืนยันได้ว่าหลังจากการห้ามตีเด็กเป็นต้นมานั้น เด็ก มีความประพฤติและผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนที่ต่ำลง

นี่ น่าจะเป็นปัญหาของการแก้ปัญหาแบบไม่รู้จริง หรือเป็นการแก้ ปัญหาแบบเห็นข้อเสียบางส่วนก็เลยโยนมันทิ้งทั้งหมดเลย

ใน เมื่อการตีเด็กนั้นมีทั้งข้อดีข้อเสีย และการยกเลิกการตีเด็ก นั้นก็ก่อปัญหามากมาย ทำไมเราไม่กลับมาใช้การตีเด็กเป็นวิธี การหนึ่งในการลงโทษเด็ก ผมย้ำว่าเป็นวิธีการหนึ่งในการลงโทษเด็ก ผมขอย้ำอีกทีว่าเป็นวิธีการหนึ่งในการลงโทษเด็กเท่านั้น ด้วยการกำหนดวิธีการที่ป้องกันไม่ให้เกิดผลเสียขึ้นดังนี้

1. ครูต้องไม่ตี เด็กด้วยความโกรธ

2. ครูต้องไม่ตี เด็กโดยขาดการไต่สวนและขาดวิธีสืบหาความผิดที่ถูกต้อง และควรมีครูคนอื่นเป็นคณะกรรมการไต่สวนด้วย

3. ครูต้องตีเด็ก ด้วยไม้เรียวที่เป็นมาตรฐาน ไม่ใช่หาอะไรเจอก็เอามาตี

4. ครูต้องตีเด็ก ด้วยจำนวน,ความแรงและท่าตีที่กำหนดให้

5. ครูต้องตีเด็ก ที่ตำแหน่งของร่างกายที่กำหนดไว้เท่านั้น

6. ครูต้องตีเด็ก ที่นักเรียนยอมรับความผิดแล้วเท่านั้น ถ้าไม่ยอมแต่เด็กมี ความผิด ก็ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง แต่ถ้าผู้ปกครองไม่ยอมก็ให้กรรมการวินัยชุดใหญ่ของโรงเรียนเป็นผู้ชี้ขาด เป็นต้น

การกำหนดเช่นนี้ก็น่า จะป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายจากการตีเด็กได้ และคงไว้แต่มุมดีๆที่จะสามารถดูแลเด็กๆที่มีปัญหาที่เกิดจากสังคมที่เสื่อม ลงเรื่อยๆได้ และทั้งหมดนี้ก็เพื่อตัวพวกเขาเอง ครอบครัว และประเทศชาติ

พอกันทีเถิดครับกับการกอดอุดมคติหรือปรัชญา ฝรั่งไว้อย่างไม่ลืมหูลืมตา โดยไม่มองบริบทของสังคม และสถานการณ์ที่เรากำลังเผชิญอยู่


กรุณาส่งต่อและติดตามบทความอื่นๆได้ที่ fanpage การศึกษา อุบาทว์ ชาติวิบัติ

บทความของ อำนวย สุนทรโชติ
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< July 2025 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
  1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12 13
14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27
28 29 30 31      

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional December 24 2024 03:31:34