:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » สิ่งที่ขาดหายไปของการทำงาน !!!
สิ่งที่ขาดหายไปของการทำงาน !!!
หลังจากการทำงานใดๆ ที่ต้องใช้คณะทำงานมากๆ เรามักจะชื่นชมผลสำเร็จของงานกันมากกว่าที่จะกล่าวถึงปัญหาอุปสรรค

ทำไมจึงพูดได้อย่างนี้


เพราะประสบการณ์การทำงานมานานมากกว่า 40 ปี ทำให้ผมกล้าพูดได้ว่าเราไม่ค่อยได้หยิบยกปัญหาอุปสรรคต่างๆในการทำงานมาคุยกันภายหลังงานนั้นจบสิ้นลงไปแล้ว ทั้งๆที่มันมีความสำคัญที่ทำให้งานที่ลุล่วงไปนั้นมีผลสัมฤทธิ์น้อยกว่าที่ควรจะเป็น

น้อยครั้งที่คณะทำงานใดๆจะหวนกลับไปนั่งถกกันถึงปัญหาอุปสรรคของการทำงานใดๆ เพื่อพัฒนางานให้ดีขึ้นถ้างานนั้นเป็นงานที่ต้องทำกันเป็นประจำทุกปี หรือทำกันเป็นห้วงเวลาทุกสามเดือน หกเดือน

ด้วยเหตุนี้ปัญหาเดิมๆจึงมักเกิดขึ้นกับงานอย่างนั้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า

ผมเคยพูดเคยเขียนอยู่บ่อยครั้งเกี่ยวกับเรื่องปัญหาการทำงานที่ไม่ครบวงจร เป็นปัญหาอุปสรรคในการทำงานในองค์กรอย่างยิ่ง ... กล่าวเช่น มีการเริ่มต้นทำงาน ติดตั้ง ตบแต่ง ให้งานดูดีมีคลาส จัดดำเนินงานมีสคริปชัดเจน ทำให้งานลื่นไหลจนกระทั่งปิดงาน มีเสียงปรบมือในความสำเร็จที่งดงาม

หลังจากงานเลิกต่างคนต่างแยกย้าย.... ซึ่งหลายคนเข้าใจว่างานเสร็จสิ้นลงแล้ว แต่มิใช่อย่างที่เข้าใจ เพราะงานสุดท้ายคืองานเก็บกวาด นำสิ่งของอุปกรณ์เข้าที่เก็บให้เรียบร้อยยังไม่ได้เริ่ม หรือเริ่มแต่ไม่สมบูรณ์

ไม่สมบูรณ์หมายถึงอะไร

หมายถึงมีอุปกรณ์อีกมากมายถูกทิ้งไว้ในที่จัดงาน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ หรืออื่นๆ อาจเป็นเพราะไม่มีกำลัง หรือมีปัญหาใดๆก็ตามที่ไม่อาจทำให้งานสำเร็จลงได้ 100% ตรงนี้ต่างหากที่ทำให้คุณค่าของการจัดงานได้รับคำชมเชยไม่เต็มร้อย

ในเมื่อเรามีกำลังที่จะเตรียมงาน และดำเนินงาน ก็ควรจะต้องมีกำลังที่จะต้องเก็บงานทุกรายละเอียดเมื่อเสร็จงานแม้ว่าจะต้องใช้สรรพกำลังมาระดมกันก็ต้องทำ เพื่อมิให้คุณค่าของงานที่ตั้งใจทำด้อยค่าด้อยราคา

เมื่อคณะทำงานมาประชุมสรุปงานก็จะต้องพูดคุยถึงปัญหาอุปสรรคอย่างตรงไปตรงมา เพื่อการพัฒนางานในครั้งต่อไป หรือนำไปใช้กับงานที่มีลักษณะใกล้เคียง ให้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้น

อย่าละเลยปัญหาบางปัญหาเพียงเพราะกลัวความขัดแย้ง เลยไม่นำขึ้นมาถกแถลงกันด้วยเหตุผล เพราะในที่สุดแล้วปัญหาที่ถูกละเลยนั้นมันก็กลับมาเป็นปัญหาอุปสรรคของงานซ้ำแล้วซ้ำเล่า

ทำให้คนในสังคมรอบข้างที่รู้ที่เห็นตำหนิติฉินนินทากันร่ำไปว่าพวกนี้ทำงานไม่เป็น
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< July 2026 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
    1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31    

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional January 02 2025 18:47:55