:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » เป้าหมายของการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้เด็กไทยอยู่ตรงไหน ??
เป้าหมายของการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้เด็กไทยอยู่ตรงไหน ??
ผมเปิดประเด็นเรื่องการเรียนภาษาอังกฤษของเด็กไทยเอาไว้ใน facebook ของผมก่อนหน้านี้ และมันแว้บเข้ามาในความคิดในขณะที่กำลังบันทึกวิดีโอคณะครูต่างประเทศในห้องสตูดิโอว่า ควรนำเรื่องดังกล่าวมานำเสนอในหน้าบทความของโรงเรียนบ้าง เพราะเชื่อว่ามีทั้งนักเรียนและผู้ปกครองแวะเวียนเข้ามาเยี่ยมชมและอ่านข่าวคราวต่างๆของโรงเรียนเสมอเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน

สิ่งที่ผมนำเสนอไว้ใน facebook นั้นเป็นเพียงการเปลี่ยนวิธีคิด (ตามข้อคิดเห็นของ Tanachai Sangwongthong) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนวิธีคิดที่คนในฝ่ายบริหาร ศธ. และ สพฐ. อาจจะคิดไม่ถึง หรือคิดถึงแล้วแต่ยังไม่เปลี่ยนความเชื่อ

ผมเชื่อว่าคีย์แมนของหน่วยงานการศึกษาไปดูงานต่างประเทศกันมาถึงคนแล้วหละ และเชื่ออีกว่าทุกคนจะได้รู้ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนเรื่องภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆด้วยเหมือนกัน



แต่ก็ยังไม่เข้าใจว่าเพราะอะไรที่ผ่านมาการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะเน้นที่ภาษาอังกฤษ..เด็กไทยของเราจึงยังคงสื่อสารกันได้ไม่มาก... แบบว่าจำนวนคนรู้ภาษาอังกฤษจนสามารถสื่อสารได้จึงไล่ตามจำนวนคนเกิดใหม่ไม่ทัน ดังเช่น ทวิตเตอร์นายหนึ่งได้เขียนโพสต์เอาไว้ใน time line ของเขา

เป็นเรื่องน่าสนใจนะครับ

และในกรณีนี้เอง เอกวัจน์ เชาว์วิชารัตน์ ศิษย์เก่าของเราเองได้นำเสนอประสบการณ์เรื่องการเรียนการฝึกทักษะภาษาอังกฤษของเขาเอาไว้ด้วยในตอนท้ายด้วย

ลองติดตามอ่านกันดูครับ

------------------- >

Narong Nantavijitr
ประมาณ 1 ชั่วโมงที่แล้ว

ไหนๆก็คุยเรื่องการศึกษาแล้ว มาคุยกันต่อ.... ผมอ่านทวิตของ ทวิตเตอร์ คนหนึ่ง ที่เขาแสดงความคิดความเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ... อ่านแล้วคิดตาม มีความรู้สึกว่าเห็นด้วยอย่างแรงงงงง ... ลองตามอ่านใน TL นี้นะครับ

Wiroj L. @wirojla

ประเทศไทยพึ่งพา "ฝรั่ง" ในการสอนภาษาอังกฤษ มานานกว่า 10 ปีแล้ว แต่คนไทยยังมีทักษะภาษาอังกฤษที่ห่วยอยู่ เพราะอะไร?

ที่ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาหลี เขาคิดว่าเขาไม่มีงบที่จะจ้างฝรั่งในจำนวนที่มากพอที่จะทำให้เด็กเขาพูดภาษาอังกฤษได้ เขาเลยพัฒนา Multimedia ขึ้นมา

ไต้หวัน เกาหลี ญี่ปุ่น ใช้ Multimedia และครูท้องถิ่น สอนภาษาอังกฤษให้กับเด็กๆ ซึ่ง cost effective และ massively scalable

เด็กญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลี ที่อายุต่ำกว่า 15 ปี ภาษาอังกฤษดีขึ้นมาก เพราะการพึ่งพาตนเอง ผนวกกับสื่อ multimedia

ประเทศไทยเราเบี้ยน้อยหอยน้อย เรายังพึ่งพาแต่ "ครูฝรั่ง" ในการทำให้เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษได้ ซึ่งไม่มีทางเป็นไปได้เลย Hopeless

ทุกวันนี้ประเทศไทยเราสามารถทำใก้เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษได้ น้อยกว่าอัตราการเกิดของเด็ก แล้วเราจะมีหวังอะไรได้อีก?

คนเกาหลีเขาบอกว่า ทุกวันนี้ประชากรที่ตายไปเป็นประชากรที่พูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แต่คนที่เกิดมาใหม่จะพอพูดภาษาอังกฤษได้ ดูมีความหวังแฮะ

คนไต้หวันบอกว่า เขาสามารถทำให้คนไต้หวันพูดภาษาอังกฤษได้ต่อปี มากกว่าอัตราการเกิดของคนไต้หวัน อันนี้ก็ดูมีความหวัง แล้วไทยล่ะ ????????

-------------->

ข้อคิดเห็นจาก facebook

Ekawat Chaowicharat

ผมเรียนภาษาอังกฤษจาก "การ์ตูน" ครับ

แล้วผมก็เชื่อคนจำนวนมากในโลกนี้ พูดภาษาของตัวเองได้ เพราะดูการ์ตูนภาษานั้นๆตั้งแต่เด็ก

การ์ตูนนั้นสร้างมาให้เด็กดูครับ (แม้บางเรื่องอาจจะไม่ค่อยเหมาะกับเด็กเล็กเท่าไหร่) ภาษามันง่าย พูดชัด และมีแต่คำที่จะก็อปปี้ไปใช้ได้จริงๆในชีวิตประจำวัน ที่สำคัญที่สุดคือ ...มันสนุกครับ ดูแล้วติด ทำให้ไม่เบื่อถ้าจะต้องเรียนภาษาจากการนั่งดูการ์ตูนครั้งละเป็นชั่วโมงๆ

ผมว่า...เริ่มต้นไม่ยากครับ แค่ฟรีทีวีสักช่องนึง ซื้อการ์ตูนดีๆพากย์อังกฤษมาสักสี่ห้าเรื่อง ฉายต่อเนื่องกันไป (เอาแบบมัดมือชก มีแต่ภาษาอังกฤษอย่างเดียว ไม่มี bilingual) เราน่าจะเห็นเด็กๆมีทักษะภาษาอังกฤษกันแบบเป็นธรรมชาติมากขึ้นนะครับ

อยากยุให้โรงเรียนลองก่อนเลยครับ ซื้อการ์ตูนเรื่องยาวๆที่เด็กติดงอมแงม แต่เป็นเสียงพากย์อังกฤษมาไว้ในห้องสมุดหรือห้องโสต แล้วแชร์ให้ดูได้ทุกเครื่องในโรงเรียน น่าจะทำได้นะครับ

ที่แน่ๆ ต้องยอมเสียเวลาให้เด็กติดการ์ตูนบ้างครับ ถ้าหวังว่าจะพัฒนาทักษะภาษาจริงๆ .... เพราะผมก็ติดการ์ตูนเป็นหลายร้อยชั่วโมงมาก่อนเหมือนกัน

ประมาณ 1 ชั่วโมงที่แล้ว ·

แล้วคุณล่ะ มีความเห็นอย่างไร ????
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< March 2023 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
    1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31    

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional January 15 2025 20:46:07