:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » สมองกลวง
สมองกลวง
ผมเชื่อว่าหลาย ๆ คนในเบญจมฯ เผชิญกับปัญหาหนึ่ง นั่นคือ เมื่อนักเรียนลงมือทำข้อสอบแล้ว พบว่านักเรียนจำนวนหนึ่งเกิดอาการที่เรียกว่าเป็นโรค "เอ๋อ" อ่านโจทย์แล้วไม่รู้จะตอบอะไรดี

เกิดอาการเหลียวซ้าย แลขวา หันหน้า หันหลัง เพื่อหาตัวช่วย

ปัญหาอย่างนี้มิใช่ว่าจะเพิ่งเกิดขึ้นในยุคสมัยนี้ ความเป็นจริงมันเกิดมาพร้อมกับการเรียนรู้ของมนุษยชาติแล้วละครับ

แต่ที่เห็นว่ามีนักเรียนจำนวนมากเกิดอาการเช่นนี้ อาจจะเป็นเพราะ

1. พวกเขาไม่สนใจที่จะเรียนรู้
2. กิจกรรมอื่นๆที่สนุกกว่าการเรียนมีตั้งมากมายที่จะทำให้เขาหมดเวลาไปกับกิจกรรมอย่างนั้น
3. จำนวนนักเรียนที่มากขึ้นในชั้นเรียน ทำให้ครูไม่สามารถดูแลแนะนำได้อย่างทั่วถึงและมากพอ
4. เพราะนิสัยไม่รักการเรียนของคนคนนั้น
ฯลฯ

มีเหตุผลนานัปการที่จะวิเคราะห์ได้ว่าเป็นเพราะเหตุใดนักเรียนบางคนจึงอยู่ในจำพวกสมองกลวง ไม่มีพื้นความรู้ด้านวิชาการอยู่เลย

ซึ่งเมื่อมาวิเคราะห์ดูนักเรียนแต่ละคนที่มีปัญหาอย่างที่ว่านี้แล้วนั้นก็อาจจะจำแนกได้อีกนะครับ

1. เด็กไม่อยากเรียนแต่ผู้ปกครองไม่รู้ว่าจะให้ไปเรียนอะไรที่ไหนเลยนำมาฝากเรียนไว้ที่นี่ ดีกว่าปล่อยให้อยู่เฉยๆ จำพวกนี้จะก่อปัญหาให้กับเพื่อน กับโรงเรียนอย่างต่อเนื่องทุกด้าน
2. อยากเรียนแต่ติดขี้เกียจฝึกฝนปฏิบัติ
3. อยากเรียนแต่ติดเพื่อน เพื่อนพาไปไหนไปด้วยโดยไม่สนใจว่าวิถีชีวิตของตัวเองจะเป็นอย่างไร
4. เรียนแล้วแต่ไม่เข้าใจ เลยเบื่อที่จะเรียนรู้ต่อไป
5. เป็นพวกชอบสบาย แม้กระทั่งการเรียนก็ชอบสบาย คิดว่าถ้านำตำรามาหนุนศีรษะแล้วมันซึมซับเข้าไปในสมองได้ก็คงจะดี
6. อ้างว่าเบื่อครู ครูดุด่าว่ากล่าวบ่อยครั้ง
ฯลฯ ใครวิคราะห์ได้เพิ่มเติมเองนะครับ

จากปัญหาที่มองเห็นเหล่านี้ จะมีวิธีแก้ไขได้อย่างไรหรือไม่

ในความคิดของผมในกรณีที่ 1
เห็นว่ามีอย่างเดียว คือการการบังคับใช้ระเบียบ (หรือข้อกฏหมายนั่นเอง) กับนักเรียนเหล่านี้อย่างเคร่งครัด ความเป็นจริงแล้วการบังคับใช้ระเบียบ ณ ขณะนี้ คือในขณะที่พวกเขาอยู่ในระดับมัธยมนั้นอาจจะสายเกินไปสักหน่อย แต่ก็ควรจะต้องใช้ข้อบังคับมาปรับพฤติกรรมของพวกเขา ให้เขาเกิดความรู้ในตัวเองว่าหากฝ่าฝืนระเบียบแล้วต้องมีโทษโดยไม่ลดหย่อน ทั้งนี้เพื่อให้พวกเขาเกิดความกลัวที่จะทำผิด เพราะทำผิดแล้วจะต้องถูกลงโทษตามระเบียบ..............
หากเอาจริงเอาจัง โดยไม่ปล่อยให้พวกเขาลอยนวล มีความเชื่อว่าน่าจะช่วยขัดเกลานิสัยของพวกเขาได้

ส่วนในกรณีที่ 2 เป็นต้นไปนั้นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย คิดหากลยุทธ์ที่จะมาทำให้นักเรียนเหล่านี้เกิดการเรียนรู้ให้ได้ แต่...... เป็นเรื่องที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งว่า นักเรียนที่มีปัญหาในเรื่องการเรียนนั้น พวกเขามีพื้นฐานความรู้จากชั้นต้น ๆ ไม่ดีเลย เมื่อฐานไม่ดีเสียอย่างหนึ่งแล้ว การต่อยอดขึ้นไปก็คงทำได้ไม่มาก อันนี้ก็ต้องทำใจครับ

เราต้องมารอดูรุ่นต่อไปว่า การส่งผ่านนักเรียนขึ้นมาเรียนในระดับมัธยมนั้น มีฐานความรู้เท่าไร เรื่องนี้โรงเรียนมัธยมจำเป็นจะต้องช่วยเก็บข้อมูลโดยมีเครื่องมือวัดทักษะวิชาหลักคือ วิทย์ คณิต ไทย อังกฤษ สังคม เมื่อเด็กเหล่านั้นถูกส่งผ่านขึ้นมา เก็บเอาไว้เพื่อเป็นข้อมูลแนะนำหน่วยงานกลางเพื่อให้เกิดการประสานร่วมมือกันพํฒนาคุณภาพทางวิชาการให้กับเด็กไทยอย่างเป็นระบบตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา แม้ว่าจะมีการทดสอบ NT แล้วก็ตาม เพราะบางครั้งคะแนน NT ก็อาจจะไม่ใช่ตัวชี้วัดที่ดีพอเมื่อเทียบกับการวัดตามสภาพจริงของแต่ละท้องถิ่น


คุยไปคุยมา แตกดอกออกช่อไปถึงเรื่องไหนๆก็ไม่รู้ แต่คิดว่าก็ยังอยู่ในเรื่องของเด็กสมองกลวงอยู่นั่นเองแหละครับ
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< July 2024 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
1 2 3 4 5 6 7
8 9 10 11 12 13 14
15 16 17 18 19 20 21
22 23 24 25 26 27 28
29 30 31        

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional January 11 2025 01:16:24