:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » การศึกษาของชาติจะเดินไปทิศทางใดในปี 2551
การศึกษาของชาติจะเดินไปทิศทางใดในปี 2551
ในฐานะที่เป็นครูปฏิบัติการมานานมากกว่า 30 ปี ได้มองแนวทางการพัฒนาระบบการศึกษาที่ตนเองเป็นเฟืองอันเล็ก ๆ อันหนึ่งในระบบ ถูกขับเคลื่อนจากเฟืองอันใหญ่มานาน นับวันฟันเฟืองทั้งหลายจะผุกร่อนไปตามกาลเวลา มีการปรับเปลี่ยนฟันเฟืองอันแล้วอันเล่า แต่ดูเหมือนยิ่งเปลี่ยนการขับเคลื่อนกลับยิ่งช้าลง ผลงานที่ได้จากการขับเคลื่อนยิ่งด้อยคุณภาพลง

มันเกิดอะไรขึ้น

ทำไมจึงเป็นอย่างนั้น

ทั้งหมดทั้งปวงนั้นอาจจะเกิดมาจากความเชื่อที่ว่า เมื่อเป็นระบบการศึกษาซึ่งเรียกว่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก็จะต้องรวมกันเป็นหนึ่งเสียเพื่อให้การจัดการเป็นหนึ่งเดียว จะได้ไม่ลักลั่นแถมทำให้เกิดสมรรถภาพที่ดี การบริหารจัดการเป็นเอกภาพเกิดประโยชน์มากกว่า แยกกันจัดการเหมือนที่แล้วมา

การคิดเช่นนั้น ความเชื่อเช่นนั้น ไม่ใช่เรื่องที่ผิด แต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่ถูกต้อง

เพราะการดำเนินการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมา ไม่ได้อยู่บนพื้ฐานทางด้านวิทยาศาสตร์มากนัก มิได้ดำเนินการภายใต้ข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริง จึงทำให้การปฏิรูปเกิดปัญหาตามมามากมายก่ายกอง เดินไปหกล้มไป

การศึกษาของชาติมิใช่การลองผิดลองถูก เพราะเมื่อลองแล้วผิด คนที่รับกรรมคือเด็กตาดำๆ ที่เป็นกำลังของชาติในอนาคต ซึ่งจะเกิดการบิดเบี้ยวของคุณภาพด้านการเรียนรู้ของเด็ก ๆ ในแต่ละรุ่น ผลที่ตามมานั้นใหญ่หลวงนัก

สิ่งที่ต้องคิดมาก ๆ คือเรื่องการพัฒนาครูให้มีคุณภาพในการจัดการเรียนรู้

สิ่งที่เป็นปัญหาคือ มีครูจำนวนหนึ่งที่มิใช่ครูมืออาชีพ หมายความว่ามิได้มีใจเป็นครูที่แท้จริง พฤติกรรมต่าง ๆ แสดงให้เห็นว่ามิได้ทุ่มเทให้กับวิชาชีพนี้อย่างแท้จริง

ดังนั้นการผลิตครูเพื่อออกมาเพื่อพัฒนาการศึกษาจึงควรที่จะมีระบบคัดกรองที่เข้มข้น และให้ค่าตอบแทนแก่ครูให้พอเพียงสมเหตุสมผลกับภาระงานที่ได้รับมอบหมายอันยิ่งใหญ่นี้ เพราะครูคือหมอรักษาคนให้พ้นจากความไม่รู้ ให้สามารถใช้ความรู้ที่ได้จากการสั่งสอนแนะนำไปพัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะก่อประโยชน์แก่ประเทศชาติต่อไปอย่างยั่งยืน

ในปี 2551ที่มาถึงแล้ว จึงอยากเห็นทิศทางของการพัฒนาการศึกษาของชาติที่เป็นรูปธรรม จับต้องได้ ปลดชนวนความขัดแย้งด้านการบริหารองค์กรออกไป ตั้งใจพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนไทย เพื่อประเทศจะได้เดินหน้าต่อไปได้อย่างสง่า แข่งขันกับนานาประเทศได้อย่างองอาจครับ
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< May 2024 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
    1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31    

No events.

BRR facebook
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก(EIT2)
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2567(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

เบญจมฯสาร ฉบับที่ 53 (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2566 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานอาคารสถานที่ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional December 24 2024 03:36:35