:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ICT » บุคลากรด้าน ICT และ EdTech
บุคลากรด้าน ICT และ EdTech
ผมอาจจะเป็นคนที่ตั้งความหวังไว้สูง ทั้งนี้ก็เพราะต้องการให้งานที่ผมรับผิดชอบมีความสามารถที่จะบริการได้ทุกอย่าง โดยเฉพาะงานด้าน IT

งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็นงานที่ต้องการบุคลากรที่มีความสามารถด้าน IT ซึ่งสามารถจะใช้เครื่องมือทุกชิ้นที่มีให้คุ้มค่ามากที่สุด เครื่องมือ IT ที่จัดหามานั้น ไม่มีนโยบายจัดหาเพื่อโชว์ว่าแค่มีแต่ไม่สามารถใช้งานได้ ผมคาดหวังว่าบุคลากรที่เข้ามาทำงานด้านนี้จะต้องมีความสามารถเรียนรู้และใช้งานเทคโนโลยีที่มีได้ทุกอย่าง

ก่อนหน้านี้ผมมีความเห็นแย้งกับหลายๆท่านว่าบุคลากรที่เข้าทำงานและจัดการเรื่องเทคโนโลยีเพื่อการศึกษานั้นจะเป็นใครก็ได้แต่ต้องมีใจชอบงานด้านนี้ ซึ่งเป็นเรื่องที่ผมเฝ้ารอคอยมานานนับสิบปีก็ยังไม่มีบุคลากรในฝันเข้ามาทำงานด้วย

มาถึงวันนี้วันที่ผมกำลังจะพ้นความรับผิดชอบงานไปตามวิถีทางของระบบราชการ จึงอยากจะฝากความคิดความฝันให้ฝ่ายบุคลากรของโรงเรียน หรืออาจะเลยไปถึงระดับเหนือขึ้นได้ได้ทราบว่า ถึงเวลาแล้วที่งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษานั้นจะต้องจะต้องได้รับการดูแลอย่างดีเพราะเทคโนโลยีถือเป็นหัวใจของการทำงานทุกด้านในอนาคต ฝ่ายที่เกี่ยวข้องควรจักจัดหาบุคลากรเฉพาะทางที่เรียนรู้มาโดยเฉพาะให้เข้ามารับผิดชอบการทำงานด้านนี้

เพราะอะไร?

การที่จะต้องจัดสรรบุคลากรเฉพาะทางมาทำงานนั้น เพราะถ้านำบุคลากรที่ไม่เคยเรียนรู้งานด้านนี้มาก่อนงานอาจจะสะดุด หรือชะงักงัน บุคลากรคนนั้นจะต้องใช้เวลาเรียนรู้ไปอีกระยะหนึ่งอาจจะเป็นเดือน เป็นปี กว่าที่จะสามารถเข้าใจงานได้อย่างทะลุปรุโปร่ง

เอาง่ายๆ แค่เรียนรู้การใช้โปรแกรมที่เกี่ยวกับงานด้านกราฟิก และการตัดต่อ ก็ต้องใช้เวลานับสัปดาห์ในการฝึกฝน แต่ถ้าเป็นคนที่เคยเรียนและมีพื้นฐานมาแล้วงานด้านนี้ก็จะสามารถเดินไปได้อย่างรวดเร็ว หรืองานระบบวิทยุโทรทัศน์อย่างนี้คนที่ไม่มีพื้นฐานเลยก็จะไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้อย่างแน่นอน

ในเมื่อการศึกษาปัจจุบันมีผู้ที่จบการศึกษาด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาทั้งปริญญาตรี และปริญญาโท ให้เลือกใช้อยู่เป็นจำนวนมาก จึงเป็นคำถามที่ต้องการคำตอบว่า "ทำไมระบบราชการจึงไม่คิดที่จะเลือกใช้บุคลากรเหล่านี้โดยการรับสมัครเข้าทำงานให้เป็นเรื่องเป็นราว"

ผมอยากเห็นระบบการศึกษาของบ้านเราใช้คนให้ถูกกับงาน เพราะที่ผ่านมาจับคนที่มีหน้าที่สอนไปทำงานด้านอื่นๆเละเทะไปหมด ในเมื่อมีการปฏิรูปแล้ว ควรที่จะปฏิรูปเสียให้ครบถ้วน

ในเมื่อยอมทุ่มเทงบประมาณเรียนฟรีได้ 15 ปี แล้วทำไมจะยอมทุ่มเทงบประมาณเพื่อให้มีบุคลากรเฉพาะทางแก่โรงเรียนต่างๆที่มีความพร้อมในด้านสื่อเทคโนโลยีมิได้หรือ
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< May 2024 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
    1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31    

No events.

BRR facebook
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2566(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2565 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional May 04 2024 13:53:47