:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ICT » ถึงเวลาแยกคนแยกงานกันได้แล้วหรือยัง !!!
ถึงเวลาแยกคนแยกงานกันได้แล้วหรือยัง !!!
กระทู้นี้เป็นการตั้งคำถาม ที่อยากได้คำตอบ

ทำไมจึงต้องตั้งคำถาม

เพราะ งานราชการโดยเฉพาะงานราชการครูมักมองในมุมประหยัด ข้าราชการครู 1 คน ต้องสามารถทำงานได้หลายงาน

จึงมีคำเปรียบเทียบว่า คนเรียนครูจะมีความรู้เหมือนเป็ด เดินได้ บินได้ ว่ายน้ำเก่ง

ทำให้ครูมีภาระงานนอกเหนือจากการสอนมากมายก่ายกอง

และ เมื่อมาถึงยุค ICT ครูก็เก่งอีก จบอะไรมาก็ไม่รู้แต่ต้องมาทำงานด้าน ICT แบบว่าทำไปเรียนรู้ไป ลองผิดลองถูก เพราะครูในยุค ICT มีบทบาทในช่วงแรกๆ ยังไม่มีใครเรียนเฉพาะทางมาเลย ก็อาศัยเปิดตำรา หรือคู่มือ จับแพะชนแกะ ทำกันมาจนได้ระดับหนึ่ง

แต่เมื่อมาถึงวันนี้ งานด้าน IT ยิ่งนับวันยิ่งสำคัญทำให้ยิ่งต้องการผู้ที่มีความรู้เฉาะทางมากขึ้น คนที่ทำงานแบบ All in One จะยิ่งเหนื่อยจนล้าแล้วก็เบื่อที่จะทำ เบื่อที่จะตามแก้ปัญหา

เมื่องานมันขยายตัวเองใหญ่ขึ้นมากขึ้น งานด้าน ICT และ EdTech(เทคโนโลยีทางการศึกษา) จะต้องแยกจากกันแม้มันจะเกี่ยวข้องกันก็ตาม แต่ผลลัพธ์มันต่างกัน เป้าหมายต่างกัน

หากผู้บริหารโรงเรียนใดมองการณ์ไกล สามารถจัดสรรบุคลากรในสองส่วนนี้ให้เหมาะสมเพียงพอ จะทำให้โรงเรียนนั้นก้าวหน้าด้านสื่อและเทคโนโลยีทันที

ชี้ประเด็นให้เห็นชัดเจนกันเลย

งาน ICT จะเป็นงานที่ต้องจัดการดูแลระบบเครือข่าย และดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ต่อเชื่อมหรือไม่ต่อเชื่อมในระบบให้ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงงานด้านโปรแกรมที่ใช้งานต่างๆของโรงเรียนและงานซ่อมบำรุง

งาน EdTech เป็นงานด้านสื่อ ทั้งที่เป็นซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ หมายถึงสื่อการสอนประเภทต่างๆ และเครื่องมือแสดงสื่อต่าง ๆ เหล่านั้น ซึ่งในปัจจุบันมักจะเป็นสื่ออีเลคทรอนิค หรือสื่อดิจิตอล รวมถึงสื่อที่ใช้อินเตอร์เนตด้วย นักเทคโนฯของโรงเรียนจะเป็นทั้งผู้ผลิต จัดหา และซ่อมบำรุงโสตทัศนูปกรณ์

เพียงเท่าที่ชี้ประเด็นดังกล่าว ก็เห็นว่างานมันกองโตเท่าภูเขาสำหรับโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

วันนี้.... เราเดินทางมาถึงทางที่ต้องแยกคน แยกงาน เพื่อร่วมเดินทางไปสู่เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน หากยังมีความคิดว่าคนๆเดียวทำได้หลายอย่าง งานที่ได้คงไม่ดี หรือได้อย่างเสียอย่าง ซึ่งมันก็เป็นอย่างนี้มาตลอดหลายปีที่ผ่านมา

และวันนี้เราได้บุคลากรมาดูแลรับผิดชอบงาน ICT แล้ว แม้คนเดียวก็ยังดีแต่จะต้องหาคนมาร่วมทีมอีกอย่างน้อย 1 คน
ส่วนงาน EdTech ยังไม่มี ก็ลองมองหาคนมาทำงานมาดูแลรับผิดชอบ EdTech อีกสักคน พร้อมคนร่วมทีมอีกอย่างน้อย 1 คน

จากนั้นกำหนดเป้าหมายงานให้ชัดเจน เชื่อขนมกินได้ว่า เทคโนโลยีของเบญจมฯจะก้าวหน้าแน่นอน

เชื่อผมเถอะครับ ... ถึงเวลาที่เราจะต้องมานั่งวางแผนแยกคนแยกงานกับงาน 2 งานนี้อย่างจริงๆได้แล้วครับ !!!!!
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< May 2024 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
    1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31    

No events.

BRR facebook
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2566(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2565 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional May 02 2024 06:19:05