:: ผู้อำนวยการโรงเรียน ::

นายชัชชัย พุทธสุวรรณ์
ผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
About BRR
 ภูมิหลัง
 ผู้บริหารโรงเรียน
 เป้าพัฒนาโรงเรียน
 อาณาเขตของเบญจมฯ
 แผนที่ที่ตั้งโรงเรียน
 ทำเนียบผู้บริหาร
 ทำเนียบครู
 กรรมการสถานศึกษา
 ทำเนียบประธานนักเรียน
 สถานที่
 เบญจมฯศูนย์บางเตย
 ข้อมูลการติดต่อ
Graphical counter
from SEP 2550
Truehits stat
Counter Map
Locations of visitors to this page
Articles Hierarchy
Articles Home » ขอคิดด้วยคน » สินสอด...คำที่มีความหมายลึกซึ้ง
สินสอด...คำที่มีความหมายลึกซึ้ง
บังเอิญเหลือเกินที่ผม search ไปเจอคำถามของหญิงสาวคนหนึ่งจดหมายไปถามคุณแอนดรูว์ เกี่ยวกับเรื่องสินสอด เพื่อนำไปอธิบายกับแฟนชาวสวีเดนที่กำลังจะแต่งงานกัน

ก็เลยคิดเล่นๆว่า สินสอด เนี่ยมันมีที่มาที่ไปอย่างไร



บังเอิญเหลือเกินที่ผม search ไปเจอคำถามของหญิงสาวคนหนึ่งจดหมายไปถามคุณแอนดรูว์ เกี่ยวกับเรื่องสินสอด เพื่อนำไปอธิบายกับแฟนชาวสวีเดนที่กำลังจะแต่งงานกัน

เมื่อหลายเดือนที่ผ่านมาผมนั่งดูรายการที่ ดร.สุขุม นวลสกุล พูดในรายการช่วยคิดช่วยทำทางช่อง 5 จำได้คลับคล้ายคลับคลาว่าอาจารย์สุขุม ท่านสอดแทรกเรื่องสินสอดเข้ามาเล็กน้อย พอจะจำได้และสรุปได้ว่า สินสอดนั้น ก็คือเงินที่ฝ่ายชายนำมามอบให้กับพ่อแม่ฝ่ายหญิงเป็นค่าสอด ในวันแต่งงาน แต่เมื่อท่านพูดถึงตรงนี้ก็พอดีผู้ดำเนินรายการพูดเรื่องอื่นๆ ผมก็เลยไม่รู้ว่าอาจารย์สุขุมท่านจะอธิบายต่อว่าอย่างไร

วิเคราะห์จากคำศัพท์ และจากที่อาจารย์สุขุมพยายามอธิบายไว้ก็น่าจะถูกต้องนะครับ....... หรือใครที่มีความรู้เรื่อง สินสอด จะมาอธบายเพิ่มเติมก็ยินดีครับ

อย่าหาว่าทะลึ่งตึงตังเลยนะครับ

ความจริงแล้วคนโบราณก็ทำอะไรตรงไปตรงมาน่ารักดีออก เพราะขนบธรรมเนียมการแต่งงานของไทยนั้นจัดขึ้นเป็นการประกาศให้ญาติพี่น้องรู้ว่าลูกสาวลูกชายบ้านนี้จะมาอยู่ร่วมหอห้องเดียวกันอย่างเปิดเผยแล้วนะ ไม่ใช่จะมาทำหลบๆซ่อนๆ ลับๆล่อๆ

ค่าสินสอดนี้พ่อแม่ของฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่ายเรียกจากฝ่ายชาย จะถูกจะแพงอย่างไรนั้นก็ขึ้นอยู่กับฐานะของครอบครัวฝ่ายหญิงฝ่ายชายนั่นแหละครับ
Comments
No Comments have been Posted.
Post Comment
Please Login to Post a Comment.
Events
<< May 2024 >>
Mo Tu We Th Fr Sa Su
    1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31    

No events.

BRR facebook
เอกสาร/ข้อมูล

คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (คลิก)

คู่มือนักเรียน
ผู้ปกครองและครู ปีการศึกษา 2566(คลิก)


ใบลากิจ/ลาป่วย (คลิก)

แบบฟอร์มแผนการจัดการเรียนรู้(คลิก)


แบบฟอร์มงานการเงิน (คลิก)


รายงานการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ปีการศึกษา 2565 (คลิก)

เอกสารรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ (คลิก)

ค้นหาภายในเว็บ BRR
บทความใน BRR
คำถามที่ถามบ่อย
Communicate
เบญจมราชรังสฤษฎิ์
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานบุคลากร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
งานสารสนเทศ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระฯศิลปะ
กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ
กลุ่มสาระภาษาไทย
กลุ่มสาระย่อยฯคอมพิวเตอร์
IEP
งานแนะแนว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
เพจสภานักเรียน
To be number one brr
กองร้อยพิเศษเบญจมราชรังสฤษฏิ์
นักศึกษาวิชาทหาร โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
ห้องเรียนสีเขียว โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์
AV BEN Studio
TYC ตลาดบ้านใหม่
TYC ตลาดบ้านสุขสำราญ

OK-Blog ครูณรงค์

จังหวัดฉะเชิงเทรา
Web Site in BRR
เว็บไซต์ดั้งเดิม 2550

ALUMNA WEB
เฟซบุ๊คสมาคมศิษย์เก่า
เผยแพร่งาน

เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(ชุดฝึกทักษะปฏิบัติรำโทน)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัมพวรรณ์ เพียรพิจิตร(ชีววิทยา)
เอกสารครูพิมพ์วดี จันทรโกศล(นาฏศิลป์)
เอกสารครูอัจฉรัตน์ ยืนนาน(เคมี)
เอกสารครูสุริยา ช้างพลายแก้ว(สังคมศึกษา)
เอกสารครูฉัตรฐพร ศิริวัน(เคมี)
เอกสารครูรัชดาวรรณ์ จริยาวัตรโสภณ(ระบบนิเวศ)
เอกสารครูเพ็ญนภา ทองดี(วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น)
เอกสารครูอดุลย์ วิริยาพันธ์(ภาษาไทย)
เว็บเรียนรู้
ศูนย์การเรียนชีววิทยา
บทเรียนออนไลน์​ เรื่อง​ เครื่องดนตรีไทยและวงดนตรีไทย​ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่​ 4​ จัดทำโดย​ ครูปพิชญา​ อ่อนสำลี​ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
..:: L-AMANT by HaYaLeT Valid XHTML 1.0 TransitionalValid XHTML 1.0 Transitional May 11 2024 12:23:50